วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
การจัดการไหมแรกฟัก
การจัดการไหมแรกฟัก
นำแผ่นไข่ไหมที่ผ่านการกกมาเรียบร้อยแล้ว มาวางบนกระด้งเลี้ยงไหมเพื่อพร้อมเปิดเลี้ยงไหมในวันรุ่งขึ้น แผ่นไข่ไหมจะถูกห่อหุ้มด้วยกระแก้วขาวขุ่นอยู่ชั้นใน ส่วนชั้นนอกจะห่อด้วยกระดาษดำ ในช่วงเช้าตรู่ประมาณ05.00น. ให้ทำการแกะกระดาษดำออกเพื่อให้ไข่ไหมได้รับแสงสว่าง ไข่ไหมจะเริ่มแตกเพื่อให้ตัวอ่อนออกจากไข่ ปล่อยให้ได้รับแสงประมาณ5-6 ชั่วโมง คือเวลาประมาณ10.00-11.00 น. ก็ให้เปิดกระดาษห่อแผ่นไข่ไหมชั้นในออก ทำการโรยสารพาราฟอร์มาดีไฮด์ผงความเข้มข้ประมาณ3เปอร์เซนต์ ให้ทั่วตัวไหม ให้นำใบหม่อนที่หั่นเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมเล็กๆ ขนาดประมาณ 0.5 x 0.5เซนติเมตร ประมาณ 40 กรัม ไปโรยให้หนอนไหมกิน ประมาณ 10-15 นาที แล้วท าการเคาะแผ่นไข่ไหมด้านตรงข้ามกับด้านที่มีตัวหนอนไหมอยู่ เพื่อให้หนอนไหมล่วงลงในกระด้งเลี้ยงไหมที่เตรียมไว้ จากนั้นใช้ขนไก่ปัดตัวหนอนไหมที่เหลืออยู่ที่แผ่นให้ไปอยู่รวมกันบนกระด้ง
นำแผ่นไข่ไหมที่ผ่านการกกมาเรียบร้อยแล้ว มาวางบนกระด้งเลี้ยงไหมเพื่อพร้อมเปิดเลี้ยงไหมในวันรุ่งขึ้น แผ่นไข่ไหมจะถูกห่อหุ้มด้วยกระแก้วขาวขุ่นอยู่ชั้นใน ส่วนชั้นนอกจะห่อด้วยกระดาษดำ ในช่วงเช้าตรู่ประมาณ05.00น. ให้ทำการแกะกระดาษดำออกเพื่อให้ไข่ไหมได้รับแสงสว่าง ไข่ไหมจะเริ่มแตกเพื่อให้ตัวอ่อนออกจากไข่ ปล่อยให้ได้รับแสงประมาณ5-6 ชั่วโมง คือเวลาประมาณ10.00-11.00 น. ก็ให้เปิดกระดาษห่อแผ่นไข่ไหมชั้นในออก ทำการโรยสารพาราฟอร์มาดีไฮด์ผงความเข้มข้ประมาณ3เปอร์เซนต์ ให้ทั่วตัวไหม ให้นำใบหม่อนที่หั่นเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมเล็กๆ ขนาดประมาณ 0.5 x 0.5เซนติเมตร ประมาณ 40 กรัม ไปโรยให้หนอนไหมกิน ประมาณ 10-15 นาที แล้วท าการเคาะแผ่นไข่ไหมด้านตรงข้ามกับด้านที่มีตัวหนอนไหมอยู่ เพื่อให้หนอนไหมล่วงลงในกระด้งเลี้ยงไหมที่เตรียมไว้ จากนั้นใช้ขนไก่ปัดตัวหนอนไหมที่เหลืออยู่ที่แผ่นให้ไปอยู่รวมกันบนกระด้ง
การสาวไหม
การสาวไหม คือ การดึงเส้นใยออกจากรังไหมให้ได้ขนาดตามต้องการในการทอผ้า ใประเทศไทยมีการสาวไหมแบบพื้นเมืองมานานแล้ว เป็นการสาวไหมด้วยมือ ซึ่งแบ่งเกรดเส้นไหมได้ 3 ชนิด คือ
1. เส้นไหมหนึ่งหรือเส้นไหมยอดหรือไหมน้อย ได้แก่เส้นไหมที่ได้จากการสาวเส้นใยชั้นในของรังไหม การสาวไหมยอด คือ การเอาปุ้ยและเส้นใยชั้นนอกของรังไหมออกก่อน แล้วจึงสาวเอาแต่เพียงเส้นใยชั้นในเท่านั้น เส้นไหมที่ได้จะมีลักษณะเส้นเล็ก ละเอียด และเรียบ ส่วนมากนิยมใช้แทนเส้นไหมยืนในการทอผ้าไหม
2. เส้นไหมสองหรือเส้นไหมสาวเลย ได้แก่ เส้นไหมที่ได้จากการสาวควบกันทั้งปุยและเส้นใยทั้งหมดให้เสร็จคราวเดียวกัน ลักษณะเส้นไหมที่สาวได้หยาบและเส้นใหญ่กว่าไหมหนึ่งใช้เป็นเส้นไหมพุ่งได้เพียงอย่างเดียว
3. เส้นไหมสามหรือเส้นไหมลืบ ได้แก่ เส้นไหมที่ได้จากการสาวเส้นใยชั้นนอกลักษณะเส้นไหมที่สาวได้จะเป็นเส้นหยาบและเส้นใหญ่กว่าไหมสอง
ทำได้โดยการต้มตัวไหม โดยใช้หม้อขนาดวัดโดยรอบประมาณ 25 นิ้ว ปากหม้อนั้นครอบด้วยไม้โค้งคล้ายห่วงของถังไม้และใช้ไม้ลักษณะแบนเจาะรูตรงกลางพาดระหว่างห่วงทั้งสองข้าง และเหนือไม้แบนๆ นี้ มีไม้รอกคล้ายจักรที่ให้หนูถีบ ซึ่งจักรมีลักษณะเป็นรูปกลมๆ จากนั้นเอาฝักไหมที่จะสาวใส่ลงไปในหม้อ ระหว่างที่รอให้คน ประมาณ 2 - 3 ครั้ง ให้รังไหม สุกทั่วกัน แล้วเอาแปรงชะรังไหมเบาๆ เส้นไหมก็จะติดแปรงขึ้นมา จึงนำมาสอดที่รูตรงกลางของไม้ระหว่างห่วงทั้งสองข้าง และสาวให้พ้นรอก 1 รอบ จากนั้นเวลาสาวไหม จะใช้มือทั้งสองข้าง โดยมือหนึ่งสาวไหมจากรอกลงภาชนะที่รองรับเส้นไหม ส่วนอีกมือหนึ่งถือไม้อันหนึ่งเรียกว่า "ไม้ขืน"
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiAnGizNDv3cktCmQJQMjfVLS2C9lRTbzmuEII9D8l0SoihDQtGVItScXy-LGTKZuaxohyphenhyphen0tkA_pOQY9DxUG1JW65cbXrdhy0RZQQcYMj0Om3JjZ8_TByQQ1dGuh2Zixfz7GgQUSAMX2Ouu/s200/%25E0%25B9%2585.jpg)
1. เส้นไหมหนึ่งหรือเส้นไหมยอดหรือไหมน้อย ได้แก่เส้นไหมที่ได้จากการสาวเส้นใยชั้นในของรังไหม การสาวไหมยอด คือ การเอาปุ้ยและเส้นใยชั้นนอกของรังไหมออกก่อน แล้วจึงสาวเอาแต่เพียงเส้นใยชั้นในเท่านั้น เส้นไหมที่ได้จะมีลักษณะเส้นเล็ก ละเอียด และเรียบ ส่วนมากนิยมใช้แทนเส้นไหมยืนในการทอผ้าไหม
2. เส้นไหมสองหรือเส้นไหมสาวเลย ได้แก่ เส้นไหมที่ได้จากการสาวควบกันทั้งปุยและเส้นใยทั้งหมดให้เสร็จคราวเดียวกัน ลักษณะเส้นไหมที่สาวได้หยาบและเส้นใหญ่กว่าไหมหนึ่งใช้เป็นเส้นไหมพุ่งได้เพียงอย่างเดียว
3. เส้นไหมสามหรือเส้นไหมลืบ ได้แก่ เส้นไหมที่ได้จากการสาวเส้นใยชั้นนอกลักษณะเส้นไหมที่สาวได้จะเป็นเส้นหยาบและเส้นใหญ่กว่าไหมสอง
วิธีการสาวไหม
การฟอกย้อมสีไหม
การฟอกย้อมสีไหม
เส้นไหมประกอบขึ้นด้วยโปรตีน 2 ส่วนคือส่วนที่เป็นเส้นใยไหมเรียกว่าไฟโบรอินซึ่งมีอยู่ประมาณ 62.5 –67.0% และกาวไหมเรียกว่าเซริซินซึ่งมีอยู่ประมาณ 2327.5% นอกจากนั้นคือส่วนประกอบอย่างอื่นได้แก่ไขมันน้้ามันแร่ธาตุต่างๆ ที่ปรากฏตามธรรมชาติและน้้าเป็นต้นในการฟอกย้อมสีไหม อันดับแรกที่จะต้องท้าก็คือการฟอกกาวของเส้นไหมเพื่อขจัดกาวและสิ่งสกปรกต่างๆ ออก ทั้งนี้จะต้องค้านึงถึงเส้นไหมที่จะน้ามาฟอกด้วยเนื่องจากเส้นไหมที่จะน้ามาฟอกด้วยเนื่องจากเส้นไหมที่ได้จากไหมพันธุ์ต่างๆ จะมีเปอร์เซ็นต์ของกาวที่ไม่เท่ากัน ดังนั้นระยะเวลาในการต้มฟอกกาวจะแตกต่างกันไปด้วย ซึ่งจะต้องพิจารณาดูจากเส้นไหมที่ฟอกขาว นอกจากนี้ขนาดเข็ดหรือไจของเส้นไหมที่จะน้ามาฟอกย้อมควรจะมีขนาดพอเหมาะคือโดยประมาณ 100 กรัม/เข็ด หากขนาดของเข็ดเส้นไหมมีขนาดใหญ่จนเกินไปจะก่อให้เกิดปัญหาในการฟอกย้อมคือ ท้าให้การฟอกกาวออกจากเส้นไหมไม่สม่้าเสมอ โดยเฉพาะเส้นไหมที่อยู่ด้านในของเข็ดก็จะมีเปอร์เซ็นต์กาวติดอยู่มากกว่าด้านนอก การกระตุกเส้นไหมเพื่อให้เรียงเส้นก็ท้าให้ยาก เส้ นไหมอาจพันกันยุ่งเมื่อท้าการย้อมสีก็จะท้าให้เส้นไหมทั้งเส้นเข็ดย้อมติดสีไม่สม่้าเสมอกันตลอดทั้งผืน ส่งผลกระทบท้าให้ผ้าไหมไม่ได้มาตรฐาน
วิธีฟอกไหม
สีไหมตามธรรมชาตินั้นจะมีสีเหลืองอ่อน เหลืองแก่ เเละสีจะไม่เสมอกันถ้าต้องการจะย้อมไหมเป็นสีต่าง ๆ ต้องฟอกไหมให้ขาวเสียก่อน การฟอกไหมนั้นจะใช้น้้าด่างฟอก น้้าด่างนี้ท้าได้โดยใช้ต้นไม้พื้นเมือง เช่น ผักขม (หรือผักหมในภาษาอีสาน) ก้านกล้วย ใบกล้วย งวงตาล ไม้เพกา (ต้นลิ้นฟ้า) ไม้ขี้เหล็กอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ น้ามาเผาให้เผ็นถ่านเถ้า แล้วเอาถ่านเถ้านี้เเช่น้้าเป็น น้้าด่าง เมื่อได้น้้าด่างใสดีแล้วจึงเอาไหมที่จะฟอกไปเเช่ จากนั้นน้าไหมไปต้มแล้วล้างด้วยน้้าเย็น จากนั้นผึ่งให้แห้ง ถ้ายังเห็นว่าไหมยังขาวไม่ได้ที่ ก็ให้น้าไปเเช่ในน้้าด่างแล้วต้มอีกครั้งหนึ่ง
พอประมาณให้เส้นไหมสามารถลงฟอกได้อย่างทั่วถึง และควรมีตะแกรงรองก้นถังเพื่อไม่ให้เส้นไหมที่ฟอกย้อมสัมผัสกับก้นภาชนะที่รับความร้อนโดยตรง
- ห่วงฟอกย้อมเส้นไหม ส าหรับแบ่งเส้นไหมเมื่อฟอกย้อม อาจท าด้วยเหล็กเส้นขนาดประมาณ 2 หุน ดัดโค้งเป็นวง หุ้มด้วยสารบางชนิดหนา
- สารเคมีที่ใช้ในการฟอกย้อม ได้แก่ สบู่แท้ สบู่เทียม โซดาแอส โซเดียมซัลไฟลด์ สีย้อมไหม
เกลือแกง กรดน้้าส้มเข้มข้น และผลิตภัณฑ์ส้าหรับผนึกสีย้อม
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEi5-jR-7MoxMfknHBplS3bA8kYypA-WxFUgXxWBhqJ77Bq_-SgXgzQ0flUSGfOSRtmkHH0zxX0NeQNp65rbTmkKbFtjCWIG5Pdu5vhez5Ybk_BtYSSyFKOsFj_Yl22JXTQyxpQWQHM14w9R/s320/Picture+18.png)
วิธีฟอกไหม
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhX6RGIFuNoEPEDM0W70u9Ie2RTrweiIe_HQlPG0jjo_uWDkEng0obAMu87zyFm1KCGG3iYDS7xQDbQwbek56Wfrh82z9GT3RjG2WHrMm3qQEjjCAnsbaTbhGFr3l4ahNHO3FtgwnxR1pIh/s1600/images.jpg)
วัสดุอุปกรณ์ในการฟอกย้อมสีไหม ได้แก่
- ถังฟอกย้อม ซึ่งควรเป็นโลหะเคลือบหรือโลหะที่ไม่ท าปฏิกิริยากับสารเคมี และควรมีความลึก![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiia3ZavN-nGYcmKNF6Oq9kNT7UoPSJ5G8rzm3bRCl_2vOK65eRpDAqTIgRmAOXI-1nnEmbtQb2ogU4__QrDR_68QAj0E34pH9wPw5p6ioepTEnRTUCGbieP44WqfZRXEwG12fEnOwXCQ0J/s1600/images+(1).jpg)
- ห่วงฟอกย้อมเส้นไหม ส าหรับแบ่งเส้นไหมเมื่อฟอกย้อม อาจท าด้วยเหล็กเส้นขนาดประมาณ 2 หุน ดัดโค้งเป็นวง หุ้มด้วยสารบางชนิดหนา
- สารเคมีที่ใช้ในการฟอกย้อม ได้แก่ สบู่แท้ สบู่เทียม โซดาแอส โซเดียมซัลไฟลด์ สีย้อมไหม
เกลือแกง กรดน้้าส้มเข้มข้น และผลิตภัณฑ์ส้าหรับผนึกสีย้อม
การเตรียมเส้นไหมก่อนทอ จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
การเตรียมเส้นไหมก่อนทอ
จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนการเตรียมเส้นยืน จะมีความยาวประมาณ เมตรเศษทั้งนี้แล้วแต่จะต้องการผ้าไหมกี่ผืน ภายหลังจากสาวเป็นเส้นไหมแล้ว สิ่งที่ส าคัญที่จะต้องท าอย่างพิถีพิถันก็คือ![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjiMcQlUCojs3VywvnEBlQs40ld2q8DNAjkDlXBBedeqF6S6tqGS_digyhTJWV2Y_KInkHEtCSUFluImvNom2olTg2s3Zuo8uq5SurGENgRVZMQZa1Myrl0mOhT7PQ3bR8y_zQsKUD6riHD/s200/2.jpg)
2. การควบเส้น โดยมากมักจะควบอย่างน้อย 2 เส้น เพื่อให้ผ้าไหมหนาพอสมควร
3. การฟอก เพื่อให้เส้นไหมนิ่ม ท าให้ทนทานในการใช้สอย
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiS66X2w66Mxhw398CLIZm5zJinge0IT_JeIdXpFyR50jK-BIxO557jZ4tyB10T06qmT6Fh0Buq55NHzhbZPNtWhkK4sB51nftigGytkBz7dpYtRt84myj1q9WW0XU4ai1f6NejpUntlWFQ/s200/3.jpg)
5. การเข้ากี่ การเตรียมเส้นยืน ตามที่กล่าวมานี้ ถ้าหากพิจารณาดูตามนี้ รู้สึกว่าจะไม่มากนักแต่ ขั้นตอนใน การปฏิบัติ
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgjAdquir1mFUVTlBQKtSNnQ74EsJPmhj5MN8lxbVqaBNIxLqRda71aaXOPWJeSdkTtUjsMyI-rz49iOxhJpN-EdEINZ1SRhWY27uRSZnKp2NtAhXlfzVYwW3JITwJNbSb7NlrWOCprkwSf/s200/wb1008_t441_r8273.jpg)
การเตรียมเส้นพุ่ง
ตามปกติผ้าไหมมัดหมี่ มักจะมีการมัดเพียงเส้นพุ่งเท่านั้น ยกเว้นผ้าอัมปรม ซึ่งมีการมัดเส้นยืนด้วย วิธีการขั้นต้นเช่นเดียวกันกับการเตรียมเส้นยืนข้อ 1 – 3 แต่หลังจากนั้นก็มีการมัดหมี่ตาม
การมัดหมี่ คือ
การทำผ้าไหมให้เป็นลายและสีสันต่างๆตามแบบหรือลายที่ได้ออกแบบไว ซึ่งปัจจุบันมีทั้งแบบลายที่เป็นแบบลายโบราณและแบบที่เป็นลายประยุกต์ โดยการมัดเส้นไหมให้เป็นลวดลายที่เส้นพุ่งด้วยเชือกฟางมัดลายแล้วน าไปย้อมสี แล้วนำมามัดลายอีกแล้วย้อมสีสลับกันหลายครั้ง เพื่อให้ผ้าไหมมีลวดลายและสีตามต้องการ เช่น ผ้าที่ออกแบบลายไว้มี 5 สี ต้องทำการมัดย้อม 5 ครั้ง เป็นต้น![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEh931wI1d8G1H-nZLCuMdYxfdu2HwWIt3rSXUJdyvjDACmFqWSi8COu6nh7AUG8Cfzi8L3Xd7xwjUIf8VNotSCRa_b58b-AQdWPg0haT8DdlxD0EYN4jFfxK0U0WCNzTuGZ5W7pe-1Sh6ES/s200/k_7_9.jpg)
การวิเคราะห์ด้านการตลาดผ้าไหม
การวิเคราะห์ด้านการตลาดผ้าไหม
ผ้าไหมไทย เป็นผ้าไหมซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแตกต่างจาก ผ้าไหมทั่วไป กล่าวคือ มีแสงแวววาว เป็นมันเลื่อมเนื้อผ้าฟูไม่เรียบอ่อนนุ่ม มีน้้าหนัก บางชนิดเป็นปุ่มปมอันเนื่องมาจากระดับคุณภาพ ซึ่งเกิดในกระบวนการผลิตแต่ก็ท้าให้ได้รับความนิยมของคนบางกลุ่ม เพราะดูแล้วมีความแปลก ตา เป็นสินค้าที่มีราคาแ พง เนื่องจากต้องใช้ฝีมือทางการผลิตและผู้บริโภคใช้แล้วบ่งบอกถึงฐานะ รส นิยม เมื่อใช้แล้วเกิดความภาคภูมิใจในสินค้านั้น ๆ
ผลการวิเคราะห์ปรากฏว่า
จุดอ่อน การตลาดในจังหวัดนราฯมีผู้สนใจใช้ผลิตภัณฑ์น้อย เนื่องจากสินค้าไม่ได้รับการรับรองจากฮาลาล
จุดแข่ง คุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นที่น่าพอใจของผู้ใช้เพราะเป็นสินค้าหัตกรรม ต้องมีความประณีตและต้องใช้ระยะเวลาในการผลิตซึ่งเป็นที่พอใจกับราคา
ปัญหาและอุปสรรค์ เป็นสินค้าที่สามมารถทดแทนได้ เนื่องจากธุรกิจการทอผ้าฝ้ายได้รับความนิยมเพราะราคาถูก และเป็นผลิตภัณฑ์การทอในลักษณะเดียวกันการวิเคราะห์ด้านการตลาดผ้าไหม
การดำเนินกลยุทธ์นี้ต้องหาความแตกต่างในตัวสินค้าต้องมีนวัตกรรมใหม่ๆมานำเสนอท าให้สินค้า
โดดเด่นกว่าสินค้าคู่แข่งในตลาด เช่น การท าเครื่องส าอางจากหม่อนไหมโดยค านึงถึงธรรมชาติ
เป็นหลัก ซึ่งการสร้างความแตกต่างนั้นขึ้นอยู่กับความเร็ว ความน่าเชื่อถือ การบริการ การ
ออกแบบลักษณะของสินค้า คุณภาพ และการตอบสนองของลูกค้า
ข้อเสนอแนะ
1.ควรมีการจัดตั้งร้านค้าชุมชน OTOP เพื่อน าผลิตภัณฑ์ วางจำหน่าย
2. พัฒนาศึกษาผลิตภัณฑ์ของตนเองโดยวางแผนร่วมกันแลกเปลี่ยนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของผลิตภัณฑ์
3. ส่งเสริมและสนับสนุนการบันทึกลวดลายผ้าไหมมัดหมี่ลายต่างๆ
การทอผ้าไหม
การทอผ้าไหม
วิธีการในการทอผ้าไหม คือการน าเส้นไหมมาผ่านกรรมวิธีที่จะให้เกิดเป็นผืนผ้า โดยมีเครื่องมือคือกี่ ส่วนการทำให้เกิดลวดลายบนผืนผ้านั้นเป็นเทคนิควิธีที่จะทำให้มีความสวยงามซึ่งเทคนิคเหล่านี้ก็จะยาก-ง่าย ตามแต่ลวดลายที่ต้องการ ส่วนเทคนิคการทอผ้าไหมของชาวบ้านคือ การมัดหมี่และลายสร้อย ดอกหมาก
ลักษณะผ้าไหม ลายสร้อยดอกหมาก ที่ดี
1. ลายผ้า ต้องมีลายเล็กละเอียด ลวดลายสวยงามสม่ำเสมอตลอดทั้งผืน และลายไม่เขย่ง2. สีผ้า สีสวยและสม่ำเสมอตลอดผืนไม่มีรอยด่าง
3. เส้นไหม เป็นไหมแม้เรียบเสมอทั้งผื นด้วยด้ายพุ่งและด้ายยืน
4. พื้นผ้า มีความละเอียดเนื้อแน่น สม่ำเสมอตลอดมาทั้งผืนไม่มีรอยโปร่งบางเป็นตอน
วิธีการเลี้ยงไหม
การเตรียมก่อนการเลี้ยงไหม
เกษตรกรจะต้องเตรียมการก่อนที่จะเริ่มต้นการเลี้ยงไหมในแต่ละรุ่น ดังนี้
- อุปกรณ์การเลี้ยงไหม เช่น กระด้งเลี้ยงไหม มีด เขียง ตาข่ายถ่ายมูล จ่อ ตะแกรงร่อน ตะเกียบ ถังน้้า เข่งหรือตะกร้าเก็บใบหม่อน รองเท้าแตะ สารโรยตัวไหม ปูนขาว เป็นต้น- ห้องเลี้ยงไหม ส้าหรับในส่วนของอุปกรณ์และห้องเลี้ยงไหมจะต้องท้าความสะอาดโดยการล้างด้วยผงซกฟอก และตากแดดให้แห้ง เพื่อเป็นการฆ่าเชื้อโรค ซึ่งเป็นวิธีการป้องกันก้าจัดโรคที่ดีที่สุด
เทคนิคการเลี้ยงไหมวัยอ่อน
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgdPWWtH2wuoOJ_Tk969prGBPTgHTr_9DZV5xmLltlEQ087roOhIHODTVA5sFXqP7AmURguTI9iGLKVsM3A3yX-cRlo_MGKaogFSRAfMWzoNjadp74dTXScK2sUjMj8SJEqGVncTdtSfjbn/s200/download.jpg)
- การเก็บใบหม่อนส้าหรับเลี้ยงไหมวัย อ่อน จะท้าการเก็บหม่อนจากใบที่ 3-4 นับ จากยอดลงมา เนื่องจากไหมวัยอ่อนต้องการใบหม่อนที่มีความอ่อนนุ่ม
- การให้ใบหม่อนและการจัดการสภาพแวดล้อมที่ดีและเหมาะสม ทำการหั่นใบหม่อนให้มีความกว้าง 1.5-2.0 x 1.5-2.0 เซนติเมตร พอขึ้นวัย3 หั่นใบหม่อนให้ขนาดโตขึ้นได้ ในการขยายพื้นที่เลี้ยงให้ใช้ตะเกียบเพื่อป้องกันการติดแพร่ระบาดของโรค
การจัดการไหมนอนและไหมตื่น
- ไหมนอน หมายถึง หนอนไหมหยุดกินอาหาร เพื่อการเปลี่ยนวัยแต่ละวัยหนอนไหมจะหยุดกินใบหม่อนประมาณ 1 วันหรือ 1 วันครึ่ง
- ไหมตื่น หมายถึง หนอนไหมที่ผ่านการนอนพักหยุดกินใบหม่อนและตื่นขึ้นมาพร้อมกับทำการลอกคราบ
- การถ่ายมูลไหม หมายถึง การท้าความสะอาดกระด้งเลี้ยงไหมโดยการเอาเศษเหลือใบ
วันศุกร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
ประวัติความเป็นมาของผ้าไหม
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEg7xRmYui_0mcAxRSZN6_rxW-QAU4JNAuKYRUgkt8SmCi-buRh38SbJnvOjNM_PvcQusaPvuzPCK9ozLoDIZZ_vgXmOtxBgXeHKS-KnfV8qC14IHA1Q9xLzjelYS7SwivBXhz2k8bDtpfNL/s200/200703-02-115125-1.jpg)
การทอผ้าไหมในประเทศไทยในอดีตมีการทำกันในครัวเรือนขึ้นเพื่อใช้ในงานพิธี เช่น งานบุญ งานแต่งงาน
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEilxvjZvYtrqcn0TBf31Qs0OPUSFA-23Vh2zTEPZYi7fO3pYYMT3teS7rqFU8-V7LVEHsWRcOiJ1DDqrkX8cNxw2DrMY3Coqq9ELLBjc1qjjhw4wMievgYZyVjwVuSqszORY-kLk7n4mEAW/s200/X8968143-29.jpg)
ชุมชนแห่งนี้เดิมเป็นชาวมุสลิมเชื้อสายเขมร อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ตั้งแต่ตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มีความ ชำนาญในการทอผ้าไหม ซึ่ง จิม ทอมป์สัน ได้เข้ามาสนับสนุนให้ชาวบ้านในชุมชนทอผ้าไหม สามารถสร้างรายให้ ชาวบ้านมากขึ้น หลังจากนั้นได้มีการปรับปรุงผ้าไหมไทยโดยใช้หลักการตลาด การผลิต เพื่อขยายตลาด และทำการบุกเบิกผ้าไหมของไทยไปสู่ตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา
บทนำ - ก่อนจะเป็นเส้นไหมไทย
บทนำ - ก่อนจะเป็นเส้นไหมไทย
เส้นไหมไทย ราชินีแห่งเส้นใย สานต่อผ้าไหมไทย หลายๆคนรู้จักผ้าไหมไทย เพราะเป็นสิ่งทอไทยที่มีความงดงาม มีเสน่ห์ต่อผู้พบเห็นเป็นอย่างยิ่ง แต่ก็คงยังมีอีกหลายๆคนที่ยังไม่ทราบว่า กว่าจะเป็นผืนผ้าไหมที่มีความสวยงาม และมีเอกลักษณเป็นผ้าไหมไทยนั้น ต้องผ่านขั้นตอน กระบวนการต่างๆ ผนวกปัญญาของบรรพบุรุษไทยมาอย่างลึกซึ้ง![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjVhKKe4q5woTkDh81fkAPME6I8ItT9OYjy8_1s5mSWaIdqNMx4lWDuSmxFyWuiE2R-YXWAUMiXDQbF_3dtacilFuUI7UiR4bn7BFxYsNIyWpT2NKqI1Qb3710IjYTV6Ll1ppKTa3g6dtxo/s320/Image.aspx.jpeg)
ต้นหม่อน เป็นพืชยืนต้นชนิดหนึ่งที่มีรูปเป็นไม้ทรงพุ่ม เป็นพืชยืนต้น ใบหม่อนเป็นอาหารที่ดีที่สุดของหนอนไหม เส้นไหมจะมีคุณภาพดีหรือไม่ ผลผลิตต่อไร่จะมากหรือน้อย คุณภาพของใบหม่อนมีส่วนสัมพันธ์โดยตรง รวมทั้งกระบวนการบริหาร จัดการแปลงหม่อนเพื่อการใช้ประโยชน์สูงสุดด้วย
เอกสารชุดนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ถ่ายทอดเรื่องการทอผ้าไหมและพัฒนาทักษะอาชีพให้มีประมากขึ้น
วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การจัดทำเอกสารฉบับนี้จะทำให้เกิดการเพิ่มความรู้แก่ประชาชนทัาวไปและผู้ที่มีความสนใจ
กลุ่มงานอำนวยการ
วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส
พฤษภาคม 2556
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)