การเตรียมก่อนการเลี้ยงไหม
เกษตรกรจะต้องเตรียมการก่อนที่จะเริ่มต้นการเลี้ยงไหมในแต่ละรุ่น ดังนี้
- อุปกรณ์การเลี้ยงไหม เช่น กระด้งเลี้ยงไหม มีด เขียง ตาข่ายถ่ายมูล จ่อ ตะแกรงร่อน ตะเกียบ ถังน้้า เข่งหรือตะกร้าเก็บใบหม่อน รองเท้าแตะ สารโรยตัวไหม ปูนขาว เป็นต้น- ห้องเลี้ยงไหม ส้าหรับในส่วนของอุปกรณ์และห้องเลี้ยงไหมจะต้องท้าความสะอาดโดยการล้างด้วยผงซกฟอก และตากแดดให้แห้ง เพื่อเป็นการฆ่าเชื้อโรค ซึ่งเป็นวิธีการป้องกันก้าจัดโรคที่ดีที่สุด
เทคนิคการเลี้ยงไหมวัยอ่อน
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgdPWWtH2wuoOJ_Tk969prGBPTgHTr_9DZV5xmLltlEQ087roOhIHODTVA5sFXqP7AmURguTI9iGLKVsM3A3yX-cRlo_MGKaogFSRAfMWzoNjadp74dTXScK2sUjMj8SJEqGVncTdtSfjbn/s200/download.jpg)
- การเก็บใบหม่อนส้าหรับเลี้ยงไหมวัย อ่อน จะท้าการเก็บหม่อนจากใบที่ 3-4 นับ จากยอดลงมา เนื่องจากไหมวัยอ่อนต้องการใบหม่อนที่มีความอ่อนนุ่ม
- การให้ใบหม่อนและการจัดการสภาพแวดล้อมที่ดีและเหมาะสม ทำการหั่นใบหม่อนให้มีความกว้าง 1.5-2.0 x 1.5-2.0 เซนติเมตร พอขึ้นวัย3 หั่นใบหม่อนให้ขนาดโตขึ้นได้ ในการขยายพื้นที่เลี้ยงให้ใช้ตะเกียบเพื่อป้องกันการติดแพร่ระบาดของโรค
การจัดการไหมนอนและไหมตื่น
- ไหมนอน หมายถึง หนอนไหมหยุดกินอาหาร เพื่อการเปลี่ยนวัยแต่ละวัยหนอนไหมจะหยุดกินใบหม่อนประมาณ 1 วันหรือ 1 วันครึ่ง
- ไหมตื่น หมายถึง หนอนไหมที่ผ่านการนอนพักหยุดกินใบหม่อนและตื่นขึ้นมาพร้อมกับทำการลอกคราบ
- การถ่ายมูลไหม หมายถึง การท้าความสะอาดกระด้งเลี้ยงไหมโดยการเอาเศษเหลือใบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น